วันพุธที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2556

ใบงานที่3


ใบงานที่ ๓
เรื่อง ภูมิปัญญาทางภาษา (เพลงกล่อมเด็ก)
เพลงกล่อมเด็ก
วัดเอ๋ย วัดโบสถ์
 
คำชี้แจง
                                ๑.  ให้นักเรียนศึกษาเพลงกล่อมเด็ก เพลง วัดเอ๋ยวัดโบสถ์
                                ๒.  จากนั้นช่วยกันร้องเป็นทำนอง
                                ๓.  ช่วยกันสรุปความคิดเห็นของกลุ่มตามหัวข้อที่กำหนดให้



กล่องข้อความ:                                       วัดเอ๋ยวัดโบสถ์               ปลูกต้นโตนดเจ็ดต้น                                 ขุนทองไปปล้น               ป่านฉะนี้ไม่เห็นมา
                                 คดข้าวใส่ห่อ                            ถ่อเรือไปหา                                 เขาก็ร่ำลือมา                            ว่าขุนทองตายแล้ว                                 เหลือกระดูกลูกแก้ว              เมื่อรักจักไปปลง                                 ขุนศรีถือฉัตร                            ยกกระบัตรถือธง                                 ถือท้ายเรือหงส์              ปลงศพพ่อคุณ
 











๑. เพลงกล่อมเด็ก วัดเอ๋ยวัดโบสถ์ แสดงให้เห็นถึงสิ่งใด
…………………………………
…………………………………
…………………………………
…………………………………
…………………………………

๒. เพลงกล่อมเด็ก วัดเอ๋ย
วัดโบสถ์ จัดเป็นวรรณกรรม
ประเภทใด
…………………………………
…………………………………
…………………………………
…………………………………

๓. เพลงกล่อมเด็ก วัดเอ๋ย
วัดโบสถ์จัดเป็นภูมิปัญญา
ทางภาษาหรือไม่
…………………………………
…………………………………
…………………………………
…………………………………



ใบงานที่2


ใบงานที่ ๒
เรื่อง ภูมิปัญญาทางภาษา (เพลงประกอบการเล่นของเด็กไทย)
คำชี้แจง
                ๑.   ให้นักเรียนศึกษาเพลงประกอบการเล่นของเด็กไทย ๒ ประเภท
                ๒.   ลองเล่นพร้อมทั้งช่วยกันร้องเพลง
                ๓.   ให้ช่วยกันสรุปความคิดเห็นของกลุ่ม ตามหัวข้อต่อไปนี้
ไปเที่ยวเชียงใหม่มา2เดือนที่แล้ว

วันอังคารที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2556

                                           ครูกมลวรรณ  ตำแหน่งครูผู้ช่วย เกิด  20  ส.ค. ค่ะ

ใบความรู้

เรื่อง  การพูด

 

การพูด เป็นวิธีหนึ่งของการสื่อสาร การถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก หรือความต้องการ ด้วยเสียง ภาษา และกิริยาท่าทาง เพื่อให้ผู้รับฟังรับรู้ เข้าใจได้ตรงตามจุดประสงค์ของผู้พูด การสื่อสารจึงจะบรรลุผลได้ความหมายของการพูด

               ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ พูด คือ การเปล่งเสียงออกเป็นถ้อยคํา, พูดจา
การพูด เป็นการสื่อสารด้วยภาษา จากตัวผู้พูดไปยังผู้ฟัง เพื่อสื่อความหมายให้ผู้อื่นทราบความรู้สึกนึกคิดและความต้องการของตน รวมทั้งเป็นการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู้ ความคิดเห็น ก่อให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกันช่วยให้กิจการต่างๆ ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย
องค์ประกอบของการพูด
             การพูดมีองค์ประกอบสำคัญอยู่ ๓ ประการ ดังนี้
๑.       ผู้พูด
             ผู้พูดเป็นผู้ที่จะต้องถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดเห็น ข้อเท็จจริง ตลอดจนทัศนคติของตนสู่ผู้ฟังโดยใช้ภาษา เสียง อากับกิริยาและบุคลิกภาพของตนให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ผู้พูดจะต้องคำนึงถึงมารยาทและคุณธรรม ในการพูดด้วย
             สิ่งสำคัญที่ผู้พูดจะต้องยึดไว้เป็นแนวปฏิบัติคือ ผู้พูดจะต้องรู้จักสะสมความรู้ ความคิดและประสบการณ์ที่มีคุณค่า มีประโยชน์ แล้วรวบรวม เรียบเรียงความรู้ ความคิดเหล่านี้ ให้มีระเบียบ เพื่อที่จะได้ถ่ายทอดให้ผู้ฟังเข้าใจได้โดยง่าย แจ่มแจ้ง
             การสะสมความรู้ ความคิดและประสบการณ์ ผู้พูดสามารถทำได้หลายทาง เช่น จากการอ่าน การฟัง การสังเกต การกระทำหรือปฏิบัติด้วยตนเอง การสนทนากับผู้อื่นนอกจากนี้แล้ว ผู้พูดจะต้องมีทักษะ ในการพูด การคิด การฟัง และมีความสนใจที่จะพัฒนาบุคลิกภาพอยู่เสมอ ซึ่งจะช่วยให้ผู้พูด เกิดความมั่นใจในตนเอง